ทิเบต ประเทศ

ทิเบต ประเทศ

ทิเบต ประเทศ (Tibet) หนึ่งในจุดหมายปลายทางในฝันของใครหลายคน ที่ปักหมุดว่าอยากจะไปท่องเที่ยวสักครั้งในชีวิต ด้วยภูมิประเทศที่เต็มไปด้วยความสวยงามของธรรมชาติ ทั้งภูเขา ที่ราบสูง ทะเลสาบ และภูมิอากาศเย็นสบายตลอดเกือบทั้งปี รวมถึงสถาปัตยกรรมแบบพุทธศาสนาต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไป สำหรับคนที่อยากทำความรู้จักทิเบตให้มากขึ้น เราได้รวบรวมข้อมูลบางส่วนมาฝากกัน หากมีโอกาสก็ค่อยเดินทางไปสัมผัสด้วยตาตัวเอง

ทิเบตตั้งอยู่ที่ไหน

เขตปกครองตนเองทิเบต หรือที่เราเรียกกันสั้น ๆ ว่า ทิเบต ตั้งอยู่ใจกลางทวีปเอเชีย ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน มีพื้นที่ติดต่อกับมณฑลต่าง ๆ ของจีน ประเทศภูฏาน และประเทศเนปาล โดยมีเมืองหลวงชื่อ ลาซา (Lhasa) จัดเป็นเขตปกครองตนเองที่มีพระเป็นผู้นำ ชาวทิเบตจึงนับถือศาสนาพุทธนิกายวัชรยาน

ทิเบต มีพื้นที่ทั้งหมด 1,200,000 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย 7 จังหวัด ดังนี้

  • ลาซา (เมืองหลวง)
  • น่าชูตี้ชู (Nagchu Prefecture)
  • ชางตูตี้ชู (Chamdo Prefecture)
  • หลินจือตี้ชู (Nyingtri Prefecture)
  • ชานหนานตี้ชู (Shannan Prefecture)
  • ลื่อคาเสอตี้ชู (Shigatse Prefecture)
  • อาหลี่ตี้ชู (Ngari Prefecture)
แผนที่ทิเบต

ทิเบต ประเทศ ภูมิประเทศและภูมิอากาศ

ทิเบต ประเทศ ตั้งอยู่บนพื้นที่ชิงไห่-ทิเบต ซึ่งเป็นที่ราบสูงที่สูงที่สุดในโลก อยู่เหนือระดับน้ำทะเลด้วยความสูงเฉลี่ย 4,000 เมตร จนได้รับฉายาว่า หลังคาของโลก (The Roof of the World) พื้นที่ส่วนใหญ่ประกอบด้วยเทือกเขาที่มียอดเขาปกคลุมด้วยหิมะขาวโพลนตลอดทั้งปี ทำให้มีภูมิอากาศที่หนาวเย็นมาก และมีความกดอากาศและออกซิเจนที่ต่ำ

สภาพแวดล้อมของทิเบต

สภาพแวดล้อมของทิเบต

ทิเบตถูกจัดเป็นหนึ่งในพื้นที่ที่มีคุณภาพสิ่งแวดล้อมดีที่สุดในระดับโลกประจำปี 2019 โดยมีระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นที่มีเสถียรภาพและสมบูรณ์อย่างมาก แทบจะไม่มีปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้นในพื้นที่นี้เลย ทั้งนี้ เมื่อสิ้นปี 2019 ทิเบตได้จัดตั้งเขตอนุรักษ์ธรรมชาติรวม 47 แห่ง คิดเป็น 34.35% ของพื้นที่ทั่วทิเบต

ประวัติศาสตร์ของทิเบต

ทิเบต เริ่มมีร่องรอยของอาณาจักรเกิดขึ้นในช่วงสมัยศตวรรษที่ 7 โดยเป็นอาณาจักรอิสระมีเมืองลาซาเป็นเมืองหลวง และมีลัทธิโบน (Bonism) เป็นลัทธิที่เก่าแก่ของทิเบต บูชาสวรรค์ เทวดา และต้นไม้ จากนั้นก็เริ่มมีความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศจีน ในสมัยราชวงศ์ถัง และเริ่มมีการศึกษาเทคโนโลยีทางการผลิต ผลงานทางการเมือง และวัฒนธรรมที่ทันสมัย

ถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 13 ทิเบตก็ได้รวมเข้าเป็นดินแดนส่วนหนึ่งของจีน แต่ก็มีความขัดแย้งเกิดขึ้นเรื่อย ๆ เกี่ยวกับความไม่เป็นธรรมและกฎข้อห้ามในการนับถือศาสนาในทิเบต จนกระทั่งต่อมาประเทศจีนประกาศให้ทิเบตเป็นเขตการปกครองตนเองภายใต้การปกครองรูปแบบเดิม คือมีองค์ดาไลลามะเป็นผู้นำ ภายใต้ระบอบคอมมิวนิสต์

การถูกรวมเข้ากับจีนครั้งแรก

ทิเบตเริ่มมีความสัมพันธ์กับจีน ในช่วงราชวงศ์ถัง 618-906 ทิเบตตกลงที่จะเอาชนะอิทธิพลของจีน ฉันตกลงที่จะให้ความเคารพและจักรพรรดิ Tai Chi ของราชวงศ์ Tang ได้สร้างความสัมพันธ์โดยการยก Princess Wen Chen เป็นภรรยาของเขา ในเวลาเดียวกันทิเบตก็เริ่มคุกคามเนปาล จากนั้นกษัตริย์เนปาลจึงนำเจ้าหญิง Kulkti สร้างความสัมพันธ์ ทิเบตซองแจแคมโปผู้เชิญพระพุทธเจ้าและพระคัมภีร์ไปทิเบตเชื่อในศาสนาพุทธเชื่อในพระพุทธศาสนาและสร้างวัดพุทธเป็นครั้งแรกในทิเบต

ยุคศตวรรษที่ 20

เมื่อจีนเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็นระบอบสาธารณรัฐทำให้เกิดสุญญากาศทางการเมืองในประเทศ มีการปรากฏตัวของขุนศึกที่แยกเป็นก๊กเป็นเหล่า ทิเบตประกาศตนเป็นประเทศเอกราชในช่วงนี้ มีการขับไล่ชาวจีนออกนอกประเทศ หลังจากการปฏิวัติในจีน กองทหารท้องถิ่นในทิเบตเขาโจมตีกองทหารจีนที่รักษาการณ์ในทิเบต เจ้าหน้าที่ชาวจีนถูกบังคับให้ลงนามในข้อตกลงสามข้อเพื่อยอมรับว่าอำนาจปกครองทิเบตของจีนได้สิ้นสุดลง พ.ศ. 2455 ทะไลลามะเสด็จกลับลาซา และเตรียมหาทางประกาศเอกราช ทิเบตและมองโกเลียกล่าวอ้างว่าทั้งสองได้ลงนามในสนธิสัญญายอมรับซึ่งกันและกันว่าเป็นประเทศเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2456 

แต่การมีอยู่ของเอกสารนี้ไม่เป็นที่ยืนยัน [18] ในช่วง พ.ศ. 2456 – 2457 มีการจัดการประชุมที่สิมลาระหว่างอังกฤษ ทิเบตและจีน อังกฤษเสนอให้แบ่งทิเบตเป็นทิเบตนอกและทิเบตใน (คล้ายกับข้อตกลงระหว่างจีนกับรัสเซียเกี่ยวกับมองโกเลีย) ทิเบตนอกคือส่วนที่เป็นเขตปกครองตนเองทิเบตในปัจจุบัน จะเป็นส่วนที่อยู่ภายใต้การควบคุมของจีน ส่วนทิเบตในได้แก่ คามตะวันออกและอัมโดอยู่ภายใต้การดูแลของรัฐบาลที่ลาซา ระหว่าง พ.ศ. 2451 – 2461 มีกองทหารรักษาการณ์ชาวจีนอยู่ในคามและมีอำนาจควบคุมผู้ปกครองท้องถิ่น

ในระหว่างการประชุม เฮนรี่ แมคมาฮอน หัวหน้าฝ่ายเจรจาของอังกฤษได้วาดแผนที่แสดงเส้นเขตแดนระหว่างทิเบตกับอินเดีย ฝ่ายจีนเรียกเส้นนี้ว่าเส้นแมคมาฮอน ซึ่งมีจุดที่มีปัญหาระหว่างรัฐอรุณาจัลประเทศกับทิเบตใต้ซึ่งทำให้อินเดียได้ดินแดนมาก ลาดัก อินเดีย ทิเบต

ประวัติทิเบต

ขัน ทิเบต บําบัด ผลของการประชุมสิมลาสิ้นสุดลงโดยฝ่ายจีนปฏิเสธการแบ่งเขตระหว่างทิเบตนอกกับทิเบตใน มีการลงนามเฉพาะอังกฤษกับทิเบตเท่านั้น พ.ศ. 2461 ทิเบตเข้าครอบครองอัมโดกับคามตะวันตกโดยมีแม่น้ำยังเซเป็นเขตแดน ในเวลานั้นรัฐบาลทิเบตควบคุมดินแดนอู-จั้ง และคามทางฝั่งตะวันตกของแม่น้ำยังเซ คามตะวันออกปกครองโดยเจ้าชายท้องถิ่น

หลังจากลงนามในสนธิสัญญาสิมลาประมาณ 1 เดือน เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ทะไลลามะองค์ที่ 13 เสนอจะส่งทหารไปช่วยอังกฤษ แต่อังกฤษปฏิเสธ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทิเบตมีความสำคัญต่อฝ่ายสัมพันธมิตรเมื่อญี่ปุ่นยึดพม่าได้ ทำให้การติดต่อระหว่างฝ่ายสัมพันธมิตรกับจีนผ่านทางมณฑลยูนนานถูกตัดขาด สหรัฐจึงหันมาสนใจทิเบต เพื่อเป็นทางผ่านไปยังจีน ทางทิเบตยอมให้สหรัฐขนส่งสิ่งของข้ามแดนได้แต่ต้องไม่ใช่อาวุธ

ระหว่างปีพ. ศ. 2466 ถึง 2476 จีนก่อให้เกิดความสับสนจากสงครามและญี่ปุ่น แต่ไม่ได้ประกาศสิทธิ์ในดินแดนทิเบต ตั้งแต่ปี 1912 จีนได้ส่งตัวแทนที่เกี่ยวข้องกับ Dalai Lama Choice ใหม่ ทิเบตได้ประกาศแยกจากประเทศจีน อย่างไรก็ตามจีนยังคงส่งผลกระทบต่อการเมืองภายในและมีอำนาจในการปกครองทิเบตใน Cam และ Armdo

ทิเบตจัดตั้งกระทรวงการต่างประเทศในปี 2485 และส่งทูตเพื่อยืนยันว่าทิเบตเป็นประเทศอิสระในปี 2486 ในเวลานั้นสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรยินดีต้อนรับนักการทูตทิเบต แต่หลีกเลี่ยงทิเบตว่าเป็นอิสระ

สถานที่ท่องเที่ยวสำคัญในทิเบต เมืองลาซา

เมืองลาซา

เมืองลาซา ตั้งอยู่กลางที่ราบสูงทิเบตเมืองหลวงของทิเบตแม่น้ำลาซาผ่านไปทางเหนือของเทือกเขาหิมาลัยถือว่าเป็นเมืองที่สูงที่สุดในโลก ระดับความสูงอยู่ห่างจากทะเล 3,650 เมตร ในเมืองมี Potara Palace ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญที่สร้างขึ้นโดยราชาแห่งกษัตริย์ ก่อนหน้าบิ๊กทิเบตมันเป็นป้อมปราการและพระราชวังเล็ก ๆ แต่ต่อมามันถูกใช้เป็นสถานที่ในการศึกษาการสอนศาสนาพุทธ ปัจจุบัน Potara Palace ได้กลายเป็นพิพิธภัณฑ์และได้กลายเป็นศูนย์นมัสการแบ่งออกเป็นสามส่วนของพระราชวังสีแดงและสีเหลือง

วัดโจคัง (Jokhang Temple)

วัดโจคัง (Jokhang Temple)

วัดโบราณที่ศักดิ์สิทธิ์ที่สุดของชาวทิเบต สร้างขึ้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 7 โดดเด่นไปด้วยงานสถาปัตยกรรมที่ผสมผสาน ศิลปะอินเดีย ศิลปะจีนในสมัยราชวงศ์ถัง และศิลปะเนปาล เข้าไว้ด้วยกันอย่างลงตัว ไฮไลต์สำคัญคือมีหลังคาสีทองอร่ามตาประดับประดาสวยงาม บนหลังคาวัดมีรูปธรรมจักรและกวาง 2 ตัวนอนหมอบขนาบข้างหันหน้าเข้าหาธรรมจักร หุ้มด้วยทองคำแท้ เป็นดังสัญลักษณ์แห่งพระธรรมจักรกัปวัตนสูตร ปัจจุบันได้รับการประกาศให้เป็นมรดกโลกในปี ค.ศ. 1994 พร้อมกับพระราชวังโปตาลา วัดโจคังยังเต็มไปด้วยบรรยากาศแห่งความศรัทธาของชาวทิเบต ซึ่งแต่ละวันจะเดินทางมาสวดมนต์สักการะพระพุทธรูป โดยเฉพาะการกราบพระแบบ “อัษฎางคประดิษฐ์” นั่นถือเป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ของชาวทิเบต ที่สร้างความน่าประทับใจให้กับชาวต่างชาติผู้มาเยือนได้เป็นอย่างดี ทัวร์ ทิเบต ราคา

อารามซัมเย (Samye Monastery)

อารามซัมเย (Samye Monastery)

วัดแห่งแรกของศาสนาพุทธนิกายวัชรยานในทิเบต สร้างขึ้นตั้งแต่ศตวรรษที่ 8 ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของลาซาประมาณ 200 กิโลเมตร บนฝั่งแม่น้ำยาร์ลุงที่โอบล้อมไปด้วยขุนเขาและธรรมชาติ สร้างตามความเชื่ออินเดีย คือ มีวิหารหลักเปรียบดังเขาพระสุเมรุ ศูนย์กลางของจักรวาล มีอาราม 4 ทิศ เปรียบเสมือนทวีปทั้งสี่ และมีอารามด้านนอกอีกแปดทิศ เป็นสัญลักษณ์ของประทีปในจักรวาล มีสถูปทางทิศเหนือและใต้ แทนพระอาทิตย์และพระจันทร์ ขณะที่ตัววิหารกลางมีสามส่วน ส่วนล่างสุดเป็นสถาปัตยกรรมแบบทิเบต ส่วนกลางเป็นแบบจีน และส่วนบนเป็นแบบอินเดีย

เบสแคมป์ก่อนขึ้นยอดเขาเอเวอเรสต์ (Everest)

เบสแคมป์ก่อนขึ้นยอดเขาเอเวอเรสต์ (Everest)

ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก อยุู่บนเทือกเขาหิมาลัย ช่วงเขตพรมแดนประเทศเนปาลและทิเบต ทำให้มีที่ตั้งของเบสแคมป์ก่อนขึ้นยอดเขา (Base Camp) 2 แห่ง คือ ฝั่งทิศใต้ เป็นฝั่งของประเทศเนปาล ต้องเดินเขาขึ้นไป แต่ฝั่งทิศเหนือจะเป็นฝั่งของทิเบต สามารถขับรถไปได้ และอยู่ท่ามกลางธรรมชาติทิวทัศน์ที่สวยงามและกว้างใหญ่กว่า ทั้งนี้ ในระหว่างทางไปเบสแคมป์จะพบกับ อารามรงบุก (Rongbuk) นักท่องเที่ยวสามารถมองเห็นวิวทิวทัศน์สองข้างที่โอบล้อมไปด้วยธรรมชาติและขุนเขา

เขาไกรลาส (Mount Kailash)

เขาไกรลาส (Mount Kailash)

ความสูง 22,020 ฟุตตั้งอยู่ทางตะวันตกของทิเบตถือเป็นยอดเขาสูงสุดอันดับ 32 ในโลกและอันดับที่ 19 ในหมู่เทือกเขาหิมาลัย ชาวฮินดูเชื่อว่ามานานกว่า 50 ล้านปียอดเขานี้เป็นภูเขาศักดิ์สิทธิ์ และเป็นศูนย์กลางของจักรวาลในพระอิศวร มีนักท่องเที่ยวจำนวนมากที่อุทิศให้กับศาสนาที่ทำทุกปี ทั้งชาวพุทธและชาวฮินดูมาแสวงบุญโดยการเดินไปรอบ ๆ เทือกเขา Crelillor มากกว่า 50 กิโลเมตร

อาณาจักรกูเก / กู่เก๋อ (Guge Kingdom)

อาณาจักรกูเก กู่เก๋อ (Guge Kingdom)

อาณาจักรโบราณกูเก หรือถ้าอ่านแบบภาษาจีนคือ กู่เก๋อ ตั้งอยู่ในเขตซาด้า (Zhada) แคว้นงาริ (Ngari) ของทิเบตตะวันตก เคยเป็นอาณาจักรยิ่งใหญ่และรุ่งเรืองถึงขีดสุดเมื่อ 1,000 ปีมาแล้ว ก่อนที่จะล่มสลายและสูญหายไปเมื่อเกิดสงครามทางศาสนา และการปฏิรูปทางวัฒนธรรมขึ้นในศตวรรตที่ 17 จนมาค้นพบอีกครั้งหนึ่งโดยชาวอิตาลี ปัจจุบันยังมีร่องรอยของสถาปัตยกรรมที่เหลืออยู่ ประกอบด้วย ถ้ำ บ้านเดี่ยว แนวตึกแถว และเจดีย์ ทั้งนี้ รอบ ๆ อาณาจักรยังปรากฏแนวกำแพงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เป็นรูปร่างสถาปัตยกรรมต่าง ๆ ที่สวยงามแปลกตา

ทะเลสาบนัมโช (Nam Tso Lake)

หนึ่งในทะเลสาบศักดิ์สิทธิ์ของชาวทิเบต อยู่ห่างจากเมืองลาซาไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือประมาณ 240 กิโลเมตร เป็นทะเลสาบน้ำเค็มที่ใหญ่เป็นอันดับสองของจีน มีความยาวกว่า 70 กิโลเมตร กว้าง 30 กิโลเมตร ในช่วงฤดูร้อนน้ำในทะเลสาบจะเป็นสีเขียวอมฟ้าตัดกับเทือกเขาหิมะเนียนเซ็นถังลา (Nyenchen Tanglha) ทางทิศใต้ของทะเลสาบ

บทความที่เกี่ยวข้อง

ขัน ทิเบต

ขัน ทิเบต

ขัน ทิเบต การใช้เสียงบำบัดนั้นเป็นการแพทย์ทางเลือกที่มีมาตั้งแต่โบราณ และใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในพิธีกรรมทางศาสนา หรืองานประเพณีต่าง

อ่านเพิ่มเติม »